welcome



วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556


  1  July  2013

Science  Experiences  Management  for  Early  Childhood

ครั้งที่ 3

         เนื้อหาสาระ

- อาจารย์ทบทวนเนื้อหาที่เรียนในคาบที่แล้ว
- การริเริ่มสร้างสรรค์ต้องมีพื้นฐานจากความรู้

วิทยาศาสตร์

    ความหมาย   ความรู้ที่ได้จากการสังเกต  เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้
**เบรนเบสด์  เลิร์นนิ่ง   คือ  พื้นฐานของเด็ก  เด็กต้องลงมือกระทำมีการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม  ปรับความรู้ใหม่เพื่อความอยู่รอด

- การที่เด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5  คือ  การดูดซึม
- การปรับโครงสร้าง  คือ  1.เด็กกระทำเกิดประสบการณ์  มีบางเรื่องที่สอดคล้องกับความรู้เดิมและมี                  บางเรื่องที่แตกต่างเพิ่มขึ้น
                                      2.เด็กปรับความรู้ใหม่
                                     3.เพื่อความอยู่รอด
- การเรียนรู้    คือ   การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 
                  ตัวอย่าง    เด็กไม่รู้จักน้ำร้อนว่าร้อนไหมเมื่อเด็กได้ลองจับกาน้ำร้อนแล้วรู้ว่าร้อน ต่อไปเด็กก็จะไม่เข้าไปจับอีก
- เส้นใยจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อ   เด็กมีประสบการณ็เยอะ
- เส้นใยสมองเชื่อมกัน =  ให้เด็กมีประสบการณ์   =  ลงมือกระทำ

     แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาสาสตร์

1.การเปลี่ยนแปลง  คือ  ทุกอย่างในโลกนี้มีการเปลี่ยนแปลง  (เกิด  แก่  เจ็บ  ตาย)
2.ความแตกต่าง     คือ  ทุกอย่างในโลกนี้มีความคล้ายคลึงแต่ไม่เหมือนกัน
3.การปรับตัว          คือ  ทุกอย่างในโลกนี้ต้องการปรับตัว
4.การพึ่งพาอาศัย   คือ  ทุกอย่างในโลกนี้ต้องพึ่งพาอาศัยกัน
5.ความสมดุล         คือ  ทุกอย่างในโลกนี้ต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอด

- วิธีการทางวิทยาสาตร์
1.กำหนดปัญหา
2.ตั้งสมมติฐาน
3.ลงมือกระทำ
4.วิเคราะห์ข้อมูล
5.สรุปผลและนำไปใช้

   งานที่รับมอบหมาย

นำเศษวัสดุมาทำของเล่น  1  ชิ้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น